Monthly Archives: September 2020

Why was Korea offered up on the filthy altar to appease the cruel god COVID 19?

Emanuel explains in this short speech how the super rich and other hidden powers have selected Korea as the testing grounds for a new “human-free” economy and what this experiment implies for the rest of humanity.

September, 2020

Sin Temor Al Mal

“Sin Tempor Al Mal”

คำแถลงการณ์ 17 ประการของ

อิมานูเอล แพสทริช (Emanuel Pastreich)

คำแถลงการณ์ 17 ประการของ

ประกาศลงสมัครชิงตำแหน่งประธานาธิบดีแห่งสหรัฐอเมริกาปี2020 โดยได้เสนอนโยบาย 17  ประการ ที่เรียกร้องให้มีการปรับโครงสร้างพื้นฐานในทุกแง่มุมของสังคมสหรัฐอเมริกา มีระบบการเมืองที่ตั้งอยู่บนพื้นฐานความจริง ขจัดความเสื่อมโทรมทางศีลธรรมอันลึกซึ้งที่สร้างความสูญเปล่าให้กับสหรัฐอเมริกา เราต้องรวมความเห็นอกเห็นใจอย่างลึกซึ้งต่อความทุกข์ยากของคนธรรมดาด้วยวิสัยทัศน์ที่สร้างแรงบันดาลใจว่าประเทศนี้จะเป็นอย่างไร

ข้อโต้แย้งของแพสทริชคือ: เราต้องต่อสู้ร่วมกันเพื่อสร้างสถาบันที่มีส่วนร่วมในทุกพื้นที่ใกล้เคียงที่จะอนุญาตให้พลเมืองของเราสร้างอุดมคติ ฝึกฝนนิสัย และเตรียมนโยบายที่จะเป็นรากฐานที่เราจะสร้างสาธารณรัฐขึ้นใหม่ รัฐที่ดีเกิดขึ้นจากการร่วมมือของประชาชนทุกคนมากกว่าการเป็นทาสของสื่อที่ปัจจุบันทุจริตและหากินกับผู้บริโภค มันจะดีกว่าที่จะสร้างวารสารศาสตร์พลเมืองของเราเองมากกว่าที่จะคร่ำครวญต่อหน้าสื่อที่ไร้สาระ

นอกจากนี้แพสทริชจะขอให้ผู้ฟังหรือประชาชนช่วยลงคะแนนเสียงให้เขาแล้ว เขายังชักชวนให้ร่วมแคมเปญที่เขาเสนอเพื่อสร้างรัฐบาลอันเกิดจากระบอบประชาธิปไตยที่เกิดจากความร่วมมือของประชาชน อย่างแท้จริง หรือเป็นประชาธิปไตยระดับชาติ (a national democracy) ความร่วมมือดังกล่าวยังเป็นตัวบ่งชี้ความต้องการของประชาชนในทุก ๆ ด้าน และใกล้เคียงกับความเป็นจริงที่สุด โดยคำแถลงการณ์/นโยบายทั่ง 17 ข้อนี้เปรียบเสมือนนาฬิกาที่จะคอยเตือนเมื่อประเทศเกิดปัญหา หยุดปัญหานั้น ให้เราสามารถแก้ไขและปรับปรุงได้ทันเวลา

หลักการพื้นฐานสองประการที่จะคาดเดาการดำเนินการในอนาคต

การค้นหาความจริงทางวิทยาศาสตร์

ประชาธิปไตยคือกระบวนการที่ความต้องการและภูมิปัญญาของประชาชนถูกแปลงเป็นนโยบาย แต่ถ้าผู้คนหลงผิดถูกใช้สื่อสิ่งพิมพ์ที่บิดเบือนและปรุงแต่ง ถ้าพวกเขาถูกสอนให้ตามใจตัวเองและทำให้เสียผลประโยชน์ในการปกครองเราก็จะเป็นประชาธิปไตยที่ปราศจากประชาชน หากการถกเถียงเรื่องนโยบายไม่มีมูลความจริงเราก็มีประชาธิปไตยในจินตนาการ หากเราลงคะแนนเสียงเพื่อตัดสินว่าอะไรเป็นความจริงแสดงว่าเราได้เข้าสู่ความเป็นระเบียบเรียบร้อยแล้วและมีเหตุผล

นอกจากมติคะแนนเสียงที่เป็นไปตามความจริงจะแสดงถึงความเป็นประชาธิปไตย และความต้องการของประชาชนอย่างแท้จริงแล้ว มติคะแนนดังกล่าวยังสามารถบอกถึงความจริงของประเทศทั้งในเรื่องความยากจน การศึกษา ชุมชน หรือทหาร นอกจากนี้มันยังทำให้ประชาชนได้ตรวจสอบสถานการณ์บ้านเมืองหรือพื้นที่ใกล้เคืองของตน กระตุ้นให้ประชาชนมีความกล้าหาญทางจริยธรรม เพื่อสร้างแนวทางการแก้ไข และนำไปปฏิบัติ ตรงตามคำกล่าวของประธานาธิบดีอับราฮัมลินคอล์นที่ว่า “ของประชาชนโดยประชาชนและเพื่อประชาชน” คือจุดประสงค์ของเรา

รัฐบาลเพื่อประชาชน

รัฐธรรมนูญของสหรัฐอเมริกาวางพิมพ์เขียวสำหรับรัฐบาลที่เป็นตัวแทนของประชาชนไม่ใช่ผู้มีอำนาจ อย่างไรก็ตามเรายังสามารถรักษาความเป็นประชาธิปไตยได้โดยการพลิกโฉมรัฐบาลใหม่ที่ปกป้องสวัสดิภาพของประชาชนและปกป้องผู้ที่ต่อต้านผู้มีอำนาจ การสร้างรัฐบาลที่ให้ผลประโยชน์และปราศจากความรุนแรงและสงครามถือเป็นศูนย์กลางของวาระแห่งชาติ

การรณรงค์นี้จะเดินหน้าต่อไป ซึ่งอาจต้องเผชิญกับอำนาจนายทุน คนมั่งมี แต่ด้วยพลังความรักประเทศชาติ เราจะทำให้ทุกคนเห็นชัดเจนว่าสิ่งที่มีค่าที่สุดคือสิ่งที่มองไม่เห็น นั่นคือ ค่านิยมหลักที่นำทางเราทั้งในฐานะปัจเจกชนกลุ่มและในฐานะประเทศชาติในการเสียสละตัวเองอย่างพร้อมเพียง ไม่เพียงแต่เพื่อประโยชน์ส่วนรวมเท่านั้น แต่เพื่อการแสวงหาความจริงด้วย

คำแถลงการณ์ 17 ประการของ อิมานูเอล แพสทริช (Emanuel Pastreich)

1) เราจะไม่รับรู้การเลือกตั้งใด ๆ ที่ไม่ยุติธรรม

ระบบการเลือกตั้งในปัจจุบันกำจัดสิทธิและเสรีภาพของประชาชนทั่วไป ประชาชนบางกลุ่มถูกลิดรอนสิทธิอันเนื่องมาจากขาดคุณสมบัติตามที่รัฐบาลกำหนด เช่น ฐานะทางเศรษฐกิจหรือรายได้ อีกทั้งข้อมูลบางอย่างก็ถูกปิดบัง รวมไปถึงยังไม่เป็นสากลมากพอทำให้จำกัดสิทธิเสรีภาพของประชาชน นอกจากนี้ระบบการเลือกตั้งดังกล่าวยังไม่โปร่งใสและถูกต้อง ทั้ง ๆ ที่ระบบการเลือกตั้งพึงตั้งอยู่บนพื้นฐานทางศีลธรรม ปราศจากการสนับสนุนจากนายทุนและการฉ้อโกง

2) การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศเป็นภัยคุกคามด้านความปลอดภัยที่ครอบงำ

ตามแผนพัฒนา 100 ปี สหรัฐอเมริกามีนโยบายเพื่อการบรรเทาและการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศเป็นสำคัญ โดยมุ่งเน้นควบคู่ไปกับนโยบายด้านความมั่นคงทางเศรษฐกิจและการศึกษาทั้งหมด นอกจากนี้ ยังมุ่งเน้นเรื่องการจำกัดการใช้ทรัพยากรธรรมชาติและเชื้อเพลิง เช่น น้ำมันปิโตรเลียม ถ่านหิน  โดยเริ่มจากการกำหนดนโยบายงดใช้รถยนต์ส่วนตัวและจำกัดการใช้เครื่องบิน รัฐบาลจะออกนโยบายการใช้พลังงานแสงอาทิตย์และพลังงานลม แทนการใช้พลังงานเชื้อเพลิงหรือฟอสซิล โดยจะติดตั้งเครื่องกำเนิดไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์และพลังงานลมในทุกพื้นที่

ในเรื่องของสิทธิ์ในทรัพย์สินทางปัญญาสำหรับเทคโนโลยีข้างตนจะถูกยึดครองโดยรัฐบาล เพื่อนำไปใช้ประโยชน์ด้านการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม ตลอดจนควบคุมการใช้น้ำมันปิโตรเลียม ถ่านหิน  และแร่ยูเรเนียม

กองทัพจะเปลี่ยนเป็นพลังงานหมุนเวียน 100% ก่อนหน่วยงานอื่น ๆ ของประเทศและจะเปลี่ยนจากศัตรูที่ของสิ่งแวดล้อมไปเป็นผู้พิทักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม ตลอดจนใช้เงินทุนที่ได้จากการยึดบริษัทที่กระทำผิดตามกฎหมายพลังงานและสิ่งแวดล้อมไปใช้สนับสนุนหรือเปลี่ยนแปลงเศรษฐกิจของประเทศให้ดีขึ้น

นอกจากนี้ รัฐบาลจะกำกับดูแลการสร้างชุมชนเมืองและชานเมืองที่ยั่งยืนอย่างแท้จริงและดำเนินการฟื้นฟูพื้นที่ป่าเพื่อรับรองความหลากหลายทางชีวภาพ

3) กำจัดอาวุธนิวเคลียร์ด้วยวิธีการใด ๆ ที่จำเป็น

เสนอให้มีนโยบายที่มุ่งกำจัดอาวุธนิวเคลียร์ให้หมดไปจากโลก เพื่อประโยชน์ของเยาวชนของประเทศ เราจะกวาดต้อนและทำลายอาวุธนิวเคลียร์ทั้งหมดโดยเริ่มในสหรัฐอเมริกาและจากนั้นในประเทศอื่น ๆ ทั้งหมด การพัฒนาอาวุธนิวเคลียร์จะต้องหยุดลง

4) เปิดตัวการสืบสวนทางวิทยาศาสตร์ระหว่างประเทศในอดีตที่หลายคนปฏิเสธที่จะเผชิญหน้า

ใช้วิธีการทางวิทยาศาสตร์ในการหาความจริงของคดีหรือเหจุการณ์ที่สำคัญๆ และเป็นที่สงสัยต่อประชาชน เช่น เหตุการณ์หลังการเลือกตั้งปี 2000 รวมถึงเหตุการณ์ที่เรียกว่า“ 9/11” ตลอดจนหาความจริงในเรื่องความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ การปรองดอง เปิดเผยเรื่องราวที่ซื่อสัตย์ให้พลเมืองสหรัฐอเมริกาและให้โลกได้เห็น และไม่มอบเสียงตำหนิให้คนกลุ่มใดกลุ่มหนึ่งเพียงเพราะเรื่องเล่าหรือนิทาน

5) นำกองทัพสหรัฐฯกลับบ้านและยกระดับสหประชาชาติ

เสนอนโยบายนำกองทัพสหรัฐกลับบ้าน โดยปราศจากการรับใช้องค์กรหรือหน่วยงานนอกระบบ แต่สนับสนุนให้กองทัพสหรัฐอเมริกาต่อสู้และรักษาความั่นคงของประเทศและสหประชาชาติอย่างแท้จริง

นอกจากนี้ องค์การสหประชาชาติจะต้องเป็นพื้นที่หลักในการวางแผนอนาคตสำหรับโลกที่เปราะบางของเราแล้วนำไปปฏิบัติ ภายหลังการปฏิรูปอย่างสมบูรณ์เหมาะสมกับการเป็นตัวแทนของพลเมืองของโลก

6) บริษัท ไม่ใช่คน

บริษัท ไม่ใช่คนและไม่มีบทบาทในการกำหนดนโยบาย เช่นเดียวกับคนรวยระดับสูงและสำหรับธนาคารเพื่อการลงทุนที่พวกเขาใช้ความตั้งใจ ข้อมูลที่กำหนดโดยผู้กำหนดนโยบายจะต้องจัดทำโดยข้าราชการอาจารย์และผู้เชี่ยวชาญอื่น ๆ ซึ่งสามารถมีส่วนร่วมในการประเมินสถานการณ์ปัจจุบันของประเทศของเราอย่างมีวัตถุประสงค์โดยไม่ต้องกดดันให้ได้มาซึ่งผลกำไร คนรวยไม่ควรมีบทบาทพิเศษในการกำหนดนโยบายของรัฐ แต่พึงเป็นข้าราชการที่มีความสามารถและจริยธรรม เราต้องเพิ่มขีดความสามารถในการปฏิบัติราชการ เพื่อให้รัฐบาลได้รับความเป็นอิสระจากองค์กรต่าง ๆ และสามารถสร้างระบบการกำกับดูแลที่เข้มงวดเพื่อปกป้องประชาชน

7) เศรษฐกิจของประชาชนและเพื่อประชาชน

มีระบบเศรษฐกิจที่เท่าเทียมกันตามระบอบประชาธิปไตย โดยระบบเศรษฐกิจต้องไม่ตกอยู่ในมือของกลุ่มชนชั้นสูงที่ได้สร้างความมั่งคั่งมหาศาลด้วยวิธีการที่ผิดกฎหมายและผิดศีลธรรมมานานหลายทศวรรษ

ทั้งหมดนี้จะหยุดลง เมื่อเราให้อำนาจผู้ตรวจสอบมืออาชีพหลายพันคนที่ Internal Revenue Service และหน่วยงานของรัฐอื่น ๆ ซึ่งได้รับการสนับสนุนจาก FBI จะเดินหน้าและดำเนินการตรวจสอบทุกสาขาของรัฐบาลอย่างไม่เกรงกลัวรวมถึงกระทรวงกลาโหม เราจะเรียกร้องให้มีการตรวจสอบทางการเงินอย่างสมบูรณ์ของรัฐสภาและสมาชิกทั้งหมด รวมถึงสาขาด้านการบริหารและสมาชิกทุกคนที่สำคัญของตุลาการต้องได้รับการตรวจสอบ เราจะไม่กลัวที่จะต้องดำเนินคดี ปรับ และจำคุกคนหลายพันคนหรือมากกว่านั้นหากจำเป็น

การเงินนับจากนี้ไปจะเป็นสาขาที่มีการควบคุมสูงโดยส่วนใหญ่จะดูแลโดยองค์กรของรัฐที่รับผิดชอบต่อประชาชน ธนาคารในภูมิภาคจะเปลี่ยนเป็นสหกรณ์ที่ดำเนินการโดยประชาชนเพื่อประโยชน์ของเศรษฐกิจในท้องถิ่น

8) สนับสนุนการศึกษาที่แท้จริงและการทำข่าวเชิงสืบสวน

เสนอให้มีการสนับสนุนให้ประชาชนเข้าถึงการศึกษาที่มีคุณภาพเพื่อสร้างการเมืองที่ถูกต้องตามกฎหมาย เพื่อพวกเขาจะได้รู้จักการคิดวิเคราะห์เกี่ยวกับสภาพสังคมและใช้ประโยชน์จากศักยภาพของการศึกษาให้เต็มที่ พวกเขาจำเป็นต้องเรียนรู้ประวัติศาสตร์และวรรณคดีปรัชญาและวิทยาศาสตร์ตั้งแต่วัยเยาว์เพื่อที่จะสามารถเข้าใจประเด็นที่ซับซ้อนในยุคของเรา

เราจะสร้างระบบการศึกษาใหม่ที่ประชาชนทุกคนได้รับการปฏิบัติอย่างเท่าเทียมกัน ทุกคนจะได้รับสิทธิในการศึกษาที่มีคุณภาพเพราะเราคาดหวังให้ทุกคนเป็นพลเมืองที่กระตือรือร้น มีวารสารศาสตร์เป็นส่วนเสริมของการศึกษาที่คอยแจ้งให้พลเมืองของเราทราบเกี่ยวกับประเด็นที่แท้จริงของประเทศ สอนให้พวกเขารู้จักการคิดวิเคราะห์เกี่ยวกับความเป็นจริงทางเศรษฐกิจและวัฒนธรรมที่อยู่เบื้องหลังพื้นผิวของสิ่งต่าง ๆ ซึ่งถือเป็นหน้าที่ของระบบสื่อสารมวลชน

ในขณะที่พลเมืองควรเรียนรู้ที่จะคิดอย่างเป็นกลางและทำงานร่วมกันเพื่อสร้างสังคมที่ดี ประกอบกับรัฐบาลต้องสนับสนุนสื่ออิสระในระดับท้องถิ่นและระดับชาติที่อุทิศตนเพื่อการแสวงหาความจริงและกระตุ้นให้ประชาชนคิดด้วยตนเอง โดยผ่านการส่งเสริมการแสดงออกทางศิลปะที่ประชาชนสร้างสรรค์ด้วยตนเอง ตัวอย่างเช่น การสร้างภาพยนตร์ หนังสือพิมพ์ ภาพวาดและภาพถ่าย โดยได้รับค่าจ้างที่เหมาะสมสำหรับงานนั้น ๆ ซึ่งจะทำให้พวกเขามั่นใจว่าพวกเขาสามารถเปลี่ยนแปลงสังคมได้ และสร้างแรงบันดาลใจให้กับพลเมืองของเรา

9) การแก้ไขครั้งที่ 13 และการยุติการเป็นทาส

การแก้ไขรัฐธรรมนูญครั้งที่ 13 ของเราห้ามการมีทาสอย่างชัดเจน เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดปัญหาอาชญากรรมที่เป็นไปเพื่อผลกำไรขององค์กร เหล่านี้จะสิ้นสุดลงโดยไม่มีข้อยกเว้นโดยการใช้การแก้ไขครั้งที่ 13 อย่าง

10) การค้าต้องเป็นระบบนิเวศและเสรีอย่างแท้จริง

เสนอให้สนับสนุนการค้าที่เป็นมิตรกับระบบนิเวศ และเอื้อประโยชน์ต่อพลเมืองในท้องถิ่น คือไม่ทำลายอุตสาหกรรมและฟาร์มดั้งเดิม ประชาชนต้องร่วมกันคิดใหม่ทั้งหมดว่าการค้าหมายถึงอะไรและสร้างระบบการค้าเสรีเชื้อเพลิงฟอสซิล 100% ที่ทุกคนสามารถเข้าถึงได้และเคารพความต้องการของชุมชนในท้องถิ่น

11) ความเสื่อมโทรมทางศีลธรรมเป็นหัวใจสำคัญของวิกฤตการณ์ทางการเมืองนี้

เสนอให้มีนโยบายรณรงค์และรักษาศีลธรรมที่มีในตัวปัจเจกบุคคล ตลอดจนสร้างชุมชนที่สามารถเรียกร้องความยุติธรรมและความชอบธรรมจนกระทั่งเราสามารถไว้วางใจเพื่อนบ้านพูดคุยกับลูก ๆ อย่างตรงไปตรงมาและรักษาค่านิยมร่วมกัน การทุตริตทางศีลธรรมที่เกี่ยวข้องกับ “เสรีภาพ” และ “ความยุติธรรม” ต้องหมดไป

12) เปลี่ยนหน่วยข่าวกรองทางทหาร

เนื่องด้วยในอดีตเกิดปัญหาการทุจริตของทหารในการซื้อขายอาวุธ จึงจำเป็นอย่างยิ่งที่รัฐบาลต้องเปลี่ยนแปลงหน่วยข่างกรองทหาร โดยเสาะหาชายและหญิงที่เต็มใจสละชีวิตเพื่อประเทศของตน ปกป้องภัยคุกคามด้านความมั่นคงอย่างแท้จริง ไม่ใช่ต้องทำหน้าที่ที่อันตรายเพื่อรักษาลประโยชน์ของกลุ่มคนเพียงบางกลุ่มที่มาพร้อมกับสนธิสัญญาลับ ๆ มากมาย

13) หยุดอิทธิพลที่เป็นอันตรายของเทคโนโลยีต่อพลเมืองของเรา

หน้าที่ของพลเมืองอย่างหนึ่งคือ การตระหนักถึงคุณค่าและประโยชน์ของเทคโนโลยีใหม่ๆอย่างแท้จริง โดยคิดถึงส่วนรวมเป็นหลัก ให้ความสนใจกับสื่อขององค์กรที่เสนอวิวัฒนาการของเทคโนโลยีในเชิงบวก นอกจากนี้ ประชาชนพึงตระหนักและทบทวนถึงผลกระทบของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่มีต่อสังคมเทคโนโลยีจะมีประโยชน์อย่างมาก เมื่อนำมาใช้เพื่อแก้ปัญหาที่แท้จริงในยุคปัจจุบันและไม่ได้ใช้เพื่อบงการเรา ตลอดจนมีความเข้าใจทางวิทยาศาสตร์เกี่ยวกับสภาพโลกของเราและสังคม

14) หยุดการรณรงค์ต่อต้านปัญญาเพื่อทำให้เราโง่ลง

ยกระดับการมีส่วนร่วมทางปัญญาในทุกมุมของประเทศของเราและส่งเสริมให้ประชาชนคิดด้วยตนเองและเสนอแนวทางแก้ไขด้วยตนเอง รณรงค์ให้ประชาชนเห็นคุณค่าการอ่าน การเขียน และการอภิปรายซึ่งมีความสำคัญต่อกระบวนการส่งเสริมทางปัญญา และต้องได้รับการสนับสนุน พลเมืองไม่ควรพึ่งพาความคิดเห็นของผู้มีชื่อเสียง สื่อโฆษณา

นอกจากนี้ยังเสนอให้อุตสาหกรรมโฆษณาและประชาสัมพันธ์ต้องอยู่ภายใต้กฎระเบียบที่เข้มงวดที่สุดเพื่อให้พลเมืองได้รับชมภาพในสื่อที่ส่งเสริมการมีส่วนร่วมทางปัญญาและสนับสนุนชุมชนที่มีสุขภาพดี พลเมืองมีสิทธิที่จะอ่านบทความ และรับชมการถ่ายทอดสดซึ่งบรรยายถึงความเป็นจริงของชีวิตอย่างเป็นวิทยาศาสตร์และมีอิสะไม่อยู่ภายใต้รายการที่ถือเป็นฉากจำลองจากชีวิตที่เกิดจากการโฆษณ

15) ฟื้นหลักการอิโรควัวส์เจ็ดชั่วอายุคน

เสนอให้เห็นความสำคัญของหลักการ “รุ่นที่ 7” ตามประเพณีของชาวอิโรควัวส์และของชนพื้นเมืองอื่น ๆ ที่เรียกร้องให้เราพิจารณาว่าการตัดสินใจของเราในวันนี้จะมีผลต่อชีวิตของลูกหลานของเราเจ็ดชั่วอายุคนในอนาคตอย่างไร หลักการนี้เป็นวิทยาศาสตร์และมีเหตุผลน่าเชื่อถือพอ และเสนอให้หลักการ “รุ่นที่ 7” ถูกเพิ่มเข้าไปในรัฐธรรมนูญเพื่อการแก้ไขและใช้เป็นพื้นฐานสำหรับการประเมินค่าใหม่ทั้งหมดของสมมติฐานทางเศรษฐกิจและวัฒนธรรมอันเป็นเครื่องประเมินคุณภาพชีวิตของประชาชนในประเทศ ความสมบูรณ์ของสิ่งแวดล้อมและความเจริญรุ่งเรืองของสัตว์ป่าและพืช

ประชาชนทุกคนในรัฐพึงเห็นว่าความร่วมมือเป็นสิ่งสำคัญต่อการอยู่รอดของเรา มีการสร้างระบบแลกเปลี่ยนระหว่างพลเมือง เพื่อให้เพื่อนบ้านสามารถช่วยเหลือซึ่งกันและกันและตั้งโปรแกรมสำหรับการสนับสนุนซึ่งกันและกันที่ทำให้ครอบครัวและชุมชนพึ่งพาตนเองได้

นอกจากนี้เรายังต้องให้อำนาจประชาชนในการดูแลซึ่งกันและกัน เรียนรู้เรื่องยา สมุนไพรและการออกกำลังกายที่เหมาะสมเพื่อรักษาโรคต่าง ๆ ด้วยตนเองโดยไม่ต้องใช้เงินเลย

16) การทำการเกษตรเพื่อประชาชนและเศรษฐกิจอาหารที่ดีและเป็นธรรม

การเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วของอุณหภูมิที่เกิดจากภาวะโลกร้อนจะทำให้ต้นทุนอาหารเพิ่มขึ้นทำให้การทำฟาร์มเป็นกิจกรรมที่สำคัญที่สุดอีกครั้งเพื่อความอยู่รอด โดยสนับสนุนการทำการเกษตรโดยประชาชนและเพื่อประชาชน คือ ประชาชนมีที่ดินทำกินของตนเอง มีระบบการกระจายสินค้าเพื่อการเกษตรทั้งหมดจะต้องได้รับการควบคุมและทำให้เกิดความยุติธรรม การผลิตอาหารในลักษณะที่ไม่ทำลายดินและน้ำของเรามีความสำคัญมากกว่าการผลิตอาหารเพียงไม่กี่อย่างที่จะสร้างความมั่งคั่งจากการส่งออกทางการเกษตร ชาวอเมริกันต้องยอมรับการทำเกษตรอินทรีย์อย่างยั่งยืนและลงมือทำเดี๋ยวนี้

17) ทั้งพรรครีพับลิกันและพรรคประชาธิปัตย์ไม่ได้ระบุไว้ในรัฐธรรมนูญ

เสนอให้มีการกำหนดและการดำเนินนโยบายภายในรัฐธรรมนูญต้องได้รับการจัดการอย่างโปร่งใสภายในหน่วยงานของรัฐที่กำหนดโดยรัฐธรรมนูญ ซึ่งปัจจุบันพรรคการเมืองทั้งสองฝ่าย คือพรรครีพับลิกันและพรรคประชาธิปัตย์ไม่ได้ถูกระบุไว้ในรัฐธรรมนูญของสหรัฐอเมริกา ทั้ง ๆ ที่พรรคการเมืองมีบทบาทสำคัญในการปกครองหรือกำหนดนโยบาย และเป็นสถานที่ที่เหมาะสมสำหรับประชาชนในระดับท้องถิ่นในการพบปะและแลกเปลี่ยนความคิดเห็น

“왜 한국은 코로나 공포속에 희생양으로 선정됐나?” 연설

미국 대통령 후보 이만열 (임마누엘 페스트라이쉬) 는 코로나공포의 진실을 이야기 합니다.

다른 정치인하고 절대적인 차이 는 이제 분명 합니다.

“¿Quién es dueño de Facebook?”

“¿Quién es dueño de Facebook?”

Emanuel Pastreich

Candidato a la Presidencia de Estados Unidos

Independiente

19 de junio de 2020

“¿Quién es dueño de Facebook?”

Al discutir con mis amigos acerca de mis planes para presentarme como candidato a la Presidencia de Estados Unidos, me dijeron que mis ideas e intenciones eran nobles, pero que debería difundir mi mensaje a través de las redes sociales, Facebook en específico, y asegurarme de que mi perfil se pudiera encontrar fácilmente en los motores de búsqueda como Google.  

Comprendí las buenas intenciones de quienes me instaban a actuar de esa manera y, en la medida de mis posibilidades, dada la falta de fondos, llevé a cabo un esfuerzo coordinado. Lamentablemente, al navegar en internet buscando los medios para correr la voz acerca de mi campaña, me di cuenta de que la verdad carece de valor para los poderes crueles y cobardes que acechan detrás de la cortina, en esa jungla llamada internet.

El ciberespacio del cual dependemos conforme tratamos de encontrar compañeros de viaje en esta lucha a favor de la justicia alrededor del mundo, que usamos para comunicarnos unos con otros acerca de las cuestiones vitales de nuestro tiempo y planificar juntos un futuro mejor, ese medio se ha vendido a quienes están obsesionados con las ganancias de corto plazo. 

Es extraño, pero mis amigos ignoraban por completo el monopolio de la información que posee el motor de búsqueda de Google, que funciona como un medio inmisericorde para extraer ganancias a favor Alphabet, una empresa transnacional sin ninguna regulación. También ignoraban, o preferían ignorar, la naturaleza manipuladora, y a fin de cuentas criminal, de empresas privadas como Facebook y Twitter, que manipulan el discurso y obstaculizan la conversación entre los ciudadanos de la Tierra.  

Tratamos de desesperación de ser considerados como clientes o propietarios de los servicios de internet. Para ello, nos alientan las campañas de relaciones públicas de dichas compañías, que pretenden hacernos pensar que Google y Facebook son caridades benévolas u organizaciones dedicadas a la búsqueda científica de la verdad, que rinden cuentas al gobierno. 

Por supuesto, esas empresas toleran nuestros esfuerzos para promover el buen gobierno y una sociedad sana, siempre y cuando dichos esfuerzos no pongan en riesgo sus ganancias ni las ganancias de sus clientes. A menudo, ello implica es que su función principal es tomar tus exigencias de cambios reales para nuestro país y desviarlas hacia partidos políticos ineficaces e incluso deshonestos, ONG y otras criaturas que se alimentan en el cieno. 

Estas empresas se ostentan como nobles instituciones (junto con una amplia gama de caridades farsantes creadas por ellas, pero hacen dinero al distraer a tus amigos y a ti, evitando que pienses de manera eficaz y organizada, y volviéndote adicto a la gratificación instantánea por medio de publicaciones y mensajes. Nos saturan con informes y discusiones sobre temas banales de Estados Unidos, para evitar que, como nación, nos unamos para enfrentar la crisis moral y económica.

Dicen que eres usuario de Google, Facebook, Twitter, Snapchat u otros motores de búsqueda y redes sociales, cuando en realidad eres un producto que tales empresas venden a sus clientes. Venden tu información privada, incluyendo perfiles detallados de tu vida personal, tus gustos y hábitos particulares y los de tus amigos y socios. 

Más importante todavía, ofrecen a las empresas que te roban a ti y a Estados Unidos el servicio de distraerte y desviarte del camino. El servicio más valioso que ofrecen a los rico y poderosos es el de confundirte, creando incertidumbre en tu mente en cuanto a la verdad y en cuanto a quién dar tu confianza. 

El coronavirus se convirtió en una tajada muy grande del negocio. Lo que venden es la confusión causada por el virus. Te presentan información contradictoria que nada tiene que ver con la búsqueda científica de la verdad. 

¿Entonces cuál puede ser el fin que persiguen los medios y las redes sociales, al alimentarnos con información contradictoria adaptada para diferentes poblaciones y grupos demográficos? 

Hay muchos motivos, pero el principal es generar desconfianza acerca de las instituciones. De los medios, de los funcionarios y expertos corruptos, los ciudadanos aprenden que han de desconfiar de todas las noticias, de todos los gobiernos, de la policía, de las universidades y los centros de investigación, que deben desconfiar, en fin, de cualquier autoridad. Ello significa que no quedarán más instituciones que puedan resistir al impulso de consolidar el poder de los ricos y poderosos. Google, Facebook, Twitter y otros, mientras que aparentan ser instituciones confiables que brindan datos científicos, desempeñan un papel fundamentar al facilitar este horrible proceso.

La creación de un gobierno y unas instituciones verdaderamente corruptos es parte del proceso. En este sentido, los informes no mienten. 

La destrucción de todas las instituciones públicas y de todas las fuentes de análisis independiente y objetivo es un paso necesario para alcanzar la irremediable privatización del gobierno, de la educación y de todos los medios de comunicación. 

Consideremos el último punto. La manera en que nos comunicamos con los demás forma parte del sistema político que estas empresas quieren controlar. Ya controlan la manera en que producimos alimentos, en que vivimos y lo que compramos. Pero si se apoderan de nuestras interacciones con los demás, si debemos pagar, directa o indirectamente, por el derecho a comunicarnos con familiares y amigos, a crear organizaciones y a defendernos a nosotros mismos, en esencia nos habremos convertido en esclavos.  Si no podemos encontrarnos en persona, no podemos viajar, no podemos escribirnos cartas, correos electrónicos o llamarnos por teléfono si no es a través de ellos, ello implica no solamente que pueden espiar todos nuestros esfuerzos, sino también que pueden hacernos callar cuando se les venga en gana. 

La República de Facebook

Quiero tomarme unos minutos para hablar acerca de la plataforma de Facebook, que según cierta empresa de nombre “Facebook” es propiedad de ellos y que la usan para manipular y engañar a la ciudadanía. No pretendo sugerir que nada más Facebook incurre en esta clase de comportamiento sin ética y ni siquiera pretendo decir que sea el peor. Antes bien, lo pongo como ejemplo porque tengo experiencia con Facebook y porque tiene un tremendo potencial para el progreso de Estados Unidos si se usa para el bien común.

Al vender al mundo entero una mentira, Facebook ha ganado para sus socios y accionistas muchos, muchísimos miles de millones de dólares. Facebook se presenta como una plataforma de cooperación compartida y transparente, que permite a todos los usuarios que la usen de manera gratuita. Sin embargo, no otorga a los usuarios ningún derecho para determinar cómo se administra Facebook. Antes bien, manipula a los ciudadanos por medio de la información que ofrece y vende la información que recaba a cambio de una ganancia. No es responsable sino ante las supercomputadoras que calculan sus ganancias. 

No obstante, Facebook da acceso a más personas que cualquiera de sus competidores. Ello se debe a que la empresa fue capaz de pedir prestados miles de millones de dólares a una tasa de interés muy baja, para que pudiera apoderarse del mercado global.   

Al mismo tiempo, Facebook se ha convertido en una potente plataforma de comercio internacional, que permite a gente de todo el mundo buscar colegas con intereses semejantes y entablar una correspondencia con ellos. Se puede usar para compartir fotos de gatos gordos y capuchinos, pero también podría ser una plataforma para discutir de manera constructiva acerca de la construcción de un mundo mejor. Facebook prefiere que te quedes con lo superficial. 

En Facebook, no es fácil buscar personas con intereses semejantes (o por región) y no es posible guardar sistemáticamente los materiales que se envían o reciben por Facebook, para así poderlos consultar con facilidad. La información que se publica está diseñada para que, pasados algunos días, nadie más que Facebook y sus clientes pueda acceder a ella. No existe la manera de que un tercero pueda desarrollar apps originales que corran en Facebook, permitiendo a los usuarios incrementar sus funciones o personalizar sus páginas.

No obstante, incluso en el formato actual, tan primitivo, Facebook ofrece el potencial de una conversación amplia entre individuos inteligentes de todo el mundo. A pesar de que su actitud hacia los que buscan la verdad es cerrada, e incluso hostil, todavía la frecuentan activistas reflexivos, incluyendo alumnos de secundaria y preparatoria. 

A pesar de que no fue diseñada para ese fin, Facebook ofrece una oportunidad para que las personas que están totalmente excluidas del debate político puedan colaborar y contribuir a sus comunidades locales o a la Tierra en su conjunto.   

Si comparamos Facebook, una empresa comercial, con organismos internacionales para la gobernación global como la ONU, el Banco Mundial, la OCDE o cualquier otra organización internacional, se llega a la conclusión de que Facebook es, por mucho, un sistema más participativo que permite amplias discusiones.  

Las organizaciones internacionales como la ONU llevan a cabo sus propios debates internos pero, por medio de arcanos textos técnicos o publicaciones en los medios de comunicación comerciales, anuncia sus decisiones sin permitir respuesta del público. Literalmente, no hay modo de que tú, un vendedor ambulante de Nigeria o un alumno de preparatoria de China puedan opinar acerca de las políticas promovidas por dichas organizaciones, incluso cuando les afecten de manera directa. 

La ONU solamente reconoce como miembros a las naciones-Estado. Ahora que las instituciones en la mayoría de las naciones-Estado se encuentran desgajadas por las empresas transnacionales y por divisiones internas de clase, literalmente no hay manera de que los ciudadanos comunes puedan presentar por medio de su gobierno una propuesta ante la Asamblea General de las Naciones Unidas. 

Sin embargo, Facebook podría cumplir esa función, si se transformara en una institución global cuyos dueños y operarios fueran los ciudadanos del mundo. Podría ser una forma de gobernación internacional en todo el sentido de la palabra. 

Recuerden que la empresa Facebook no construyó Facebook. Los usuarios lo hicimos. Igualmente, nosotros construimos Twitter, Snapchat y otras instituciones que las empresas afirman poseer. Nosotros, el pueblo, hicimos la tarea de poblar Facebook con contenidos valiosos y de formar redes eficaces. 

Debemos pensar en las empresas que pretenden ser propietarios de Facebook como el equivalente de aquellos barones bandidos que construyeron el ferrocarril Union Pacific en el s. XIX. Personajes como Clark Durant y Mark Hopkins consiguieron dinero de los bancos para construir el Union Pacific con un astuto propósito lucrativo. Sin embargo, con el paso del tiempo esos ferrocarriles se convirtieron en organizaciones reguladas gracias al activismo de los ciudadanos. La ley de comercio interestatal de 1887 prohibió la discriminación en traslados cortos y otras prácticas predatorias. Se ordenó a los ferrocarriles de rueda libre que se conformaran con estrictas normas.  

El servicio postal se transformó, de un revoltijo de empresas lucrativas, en un organismo gubernamental sin fines de lucro que brinda un servicio de importancia vital. Ahora, las empresas buscan la privatización del servicio postal. No obstante, ninguno de esos políticos cobardes se pone del otro lado: el servicio postal no se debe privatizar y Google, Facebook y Amazon tienen que convertirse en monopolios regulados o en cooperativas de usuarios. 

Lamentablemente, aunque estamos altamente integrados por medio de los sistemas de producción y de logística, así como por sistemas de recopilación y distribución de datos, los ciudadanos de Estados Unidos y del mundo no nos conocemos unos a otros. Para responder a la amenaza global, debemos superar nuestra ignorancia e indiferencia hacia toda forma totalmente nueva de gobernación global participativa. 

Facebook podría ser un mecanismo de unión. Para ello, debemos hacer fuertes exigencias. Debemos garantizar que Facebook nos pertenece y que no sea la propiedad de una corporación que nos roba. Debemos hacer propuestas concretas acerca de aquello en lo que Facebook se debe convertir, para empuja a Facebook y a empresas similares en la dirección correcta. 

Puesto que Facebook como empresa lucrativa no tiene incentivos para aceptar nuestras exigencias, para construir una verdadera comunidad global en línea que nos pertenezca a todos hay que impulsar un fuerte cabildeo que permita lograr cambios en la manera en que se maneja (para que se permita a los usuarios decidir por medio de un proceso democrático cuál debe ser el diseño y estructura de Facebook). 

Por otro lado, hay redes sociales alternas, pero tienden a contar con un número muy limitado de participantes porque les falta capital privado, y las empresas multinacionales las estrangulan a propósito.  

Necesitamos un plan concreto para cambiar el gobierno interno de Facebook, debatido por todos los usuarios individuales de Facebook, y conseguir que ese plan sea aprobado y ejecutado a nivel local y global.  

La administración de Facebook puede comenzar con reformas que lo hagan más accesible y transparente y que se oriente más hacia las necesidades de individuos y comunidades. Podemos empezar por exigir reformas simples, como permitir a los individuos que diseñen aplicaciones propias dentro de Facebook, con el derecho de cederlas o venderlas a otros miembros.

Como parte del proceso, por un proceso de elección se podría establecer comunidades locales, que determine las políticas locales y globales de Facebook. 

La cuestión de la propiedad  

El proceso de transformar Facebook en una colectividad controlada por nosotros solamente podrá comenzar cuando hagamos valer con toda fuerza que los contenidos de Facebook y las ganancias derivadas de Facebook son de nuestra propiedad. Hay que decir que Facebook es nuestro. 

Aunque Facebook S.A. ostenta los derechos sobre todas las ganancias generadas sin dar nada a los usuarios que producen todos los contenidos y forman todas las redes, ese supuesto es cuestionable.  Es evidente que Facebook es propiedad de sus creadores, y no de aquellos que tienen acceso a las finanzas internacionales o esas filas de abogados que están acostumbrados a dominar Facebook desde arriba. 

Se necesita una discusión acerca de la propiedad y desarrollar propuestas concretas para definir la manera en que la propiedad de este espacio compartido para la comunicación será en el futuro. Estas propuestas pueden respaldarse con exigencias concretas, incluyendo planes para la propiedad compartida y el reparto de utilidades de Facebook, los cuales se implementarán a través de grupos organizados de usuarios. 

Hacer que Facebook sea nuestro exige que pensemos de una manera nueva cuál es nuestro papel en la sociedad. Tenemos que despertar de sueño consumista en que hemos estado sumidos por largos años. Creo que la actual crisis económica, ecológica e ideológica puede bastar para despertarnos. 

Como parte del proceso, habría una convención en la cual se redacte una constitución para Facebook, estableciendo los medios para su administración. 

Dicha constitución abordaría lo siguiente: 

1) la creación de mecanismos para que Facebook responda ante las necesidades de los ciudadanos;

 2) Hacer que Facebook se ajuste a una serie de principios éticos;

 3) Garantizar la completa transparencia en lo que respecta a las operaciones financieras y la estructura administrativa de Facebook, garantizando que todas las ganancias se repartan entre los usuarios que crean contenidos. 

4) Garantizar que el capital privado nunca se use de manera que pueda controlar las políticas que se estipulen. 

Se podría conjuntar un grupo de expertos de los campos de la programación, el diseño, el derecho, el arte, la filosofía, la literatura, la ingeniería, así como de las ciencias físicas, biológicas, sociales e informáticas. Este grupo podría reunirse en la convención para establecer el marco básico de la constitución.  Después de la convención, podría haber un periodo de seis meses para realizar consultas entre la comunidad de usuarios de Facebook.

Después de las consultas, se podrían modificar las propuestas iniciales del grupo de manera que se pueda llegar a un consenso general. Vendría entonces la ratificación. Entonces, los usuarios de Facebook se convertirían en ciudadanos que votarían para crear la “República de Facebook”, con un sistema de gobierno transparente y responsable.

En mi gobierno, se establecería un sistema de micropagos que permitiera la justa distribución de las ganancias de la República de Facebook, para que éstas llegaran a los usuarios, en tanto que serían sus propietarios. Los ciudadanos de Facebook podrían vender o intercambiar sus creaciones y se les pagarían tarifas apropiadas por sus publicaciones, diseños, memes, música y videos. No habría necesidad de una Facebook S.A., excepto tal vez para que fungiera como contratista, así como Merit Network cumplió dicha función, administrando la mecánica en los inicios de internet.  

Con una administración ética, Facebook podría ser el lugar donde se encuentren personas con intereses semejantes de toda la tierra, para trabajar a favor de una democracia participativa global, creando equipos que propongan proyectos de colaboración y soluciones creativas para los problemas comunes. 

Facebook podría llegar a ser el medio para que todos aquellos que tienen metas similares, dondequiera que se encuentren, puedan asociarse en investigaciones y debates y en la ejecución de proyectos. En una era de financiamiento limitado, los recursos compartidos de grupos semejantes tienen un tremendo potencial. 

Si contamos con voluntad ante la actual crisis global, podremos transformar la plataforma de Facebook en una forma legítima de gobernación democrática global. En este proceso, todo internet se transformaría en una democracia constitucional que promueve la participación, por medio de redes de ciudadanos en igualdad de circunstancias. Además, se podría lograr que funcionara por medio de energía 100% renovable.